ได้ปรับเพิ่มอันดับความน่าเชื่
อินโดนีเซียเพิ่มเติมเมื
ที่ผ่านมาท่ามกลางสัญญาณการเติ
ใหญ่แห่งเอเชียอาคเนย์
ปี 2009 ที่ผ่านมาเศรษฐกิจอินโดนีเซี
ร่
แข็งค่ามากที่สุดสกุลหนึ่
โดยดัชนีตลาดหุ้นจาการ์ตาพุ่งขึ
ขณะที่ค่าเงินรูเปียะห์แข็งค่
เมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์สหรัฐฯ
อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของอิ
ขณะเดียวกันธนาคารกลางอินโดนี
เศรษฐกิจในปี 2010 เป็น 6-6.5% ในพฤหัสฯที่ 11 มีนาคมที่ผ่านมา
ซึ่งถือเป็นการปรับประมาณการณ์
S&P ปรับเพิ่มเรตติ้งระยะยาวสำหรั
ของรัฐบาลอินโดนีเซี
ยาวในสกุลต่างประเทศของอิ
ขั้นและขึ้นมาอยู่ในระดับเดี
การปรับเพิ่มเรตติ้งในครั้งนี้
ปีสำหรับอินโดนีเซียและนับว่
วิกฤตการเงินในปี 1998 ขณะเดียวกันบริษัทเรตติ้งอีก 2 แห่งคือ Fitch และ
Moody’s ก็ได้เพิ่มเรตติ้งให้อินโดนีเซี
นางศรี มุลยานี อินทราวาตี รมว.คลังของอินโดนีเซียและหั
ผู้ผลักดันการปฏิรู
ได้
น่าลงทุ
ซึ่งต้องมีการปรับเรตติ้งเพิ่
การปรับเรตติ้งของ S&P ถือเป็นสัญญาณของความเชื่อมั่
จากบรรดานักการเมืองหัวปฏิรูปกำลังเผชิญการโจมตีทางการเมืองอย่างหนักจาก
พรรคฝ่ายค้านกรณีที่มีการอุ้มธนาคารระหว่างวิกฤตการเงินในปี 2008
ซึ่งต้องใช้เงิน 715 ล้านดอลลาร์
นางศรี มุลยานีและนางโบเอดีโอนโน
อดีตผู้ว่าการธนาคารกลางอินโดนีเซียในปีที่แล้วและปัจจุบันดำรงตำแหน่งรอง
ประธานาธิบดีเสี่ยงต่อการยื่นถอดถอนจากกรณีดังกล่าวแต่นักวิเคราะห์เชื่อว่า
สุดท้ายแล้วทั้ง 2 จะไม่ถูกถอดถอน
S&P
ให้ความเห็นต่อกรณีนี้ว่าแรงกดดันทางการเมืองในตอนนี้เป็นเพียงอุปสรรคชั่ว
คร่าวซึ่งไม่สามารถขัดขวางวาระสำคัญในการปฏิรูปในด้านงบประมาณ
ระบบบริหารและโครงสร้างโดยรวมของประเทศได้
ด้วยสภาพเศรษฐกิจที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่องของประเทศจะทำให้สามารถดึงดูดนักลง
ทุนต่างประเทศเข้ามาเพิ่มเติมเนื่องจากรัฐบาลอินโดนีเซียเตรียมออกพันธบัตร
มูลค่า 1,100 ล้านดอลลาร์ในรูปของซามูไรบอนด์
ซึ่งจะขายเป็นเงินเยนและระดมทุนในตลาดโตเกียวในช่วงเมษายนหรือพฤษภาคมที่จะ
ถึงนี้
ธนาคารกลางอินโดนีเซียประสบความสำเร็จในการปกป้องค่าเงินรูเปียะห์ในช่วง
วิกฤตการเงินที่ผ่านมา โดยล่าสุดธนาคารกลางอินโดนีเซียมีทุนสำรองทั้งสิ้น
69,7000 ล้านดอลลาร์ ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา
นอกจากนั้น S&P
ยังได้คงเรตติ้งสำหรับการกู้เงินระยะยาวในรูปของสกุลเงินท้องถิ่นไว้ที่ BB+
และเรตติ้งสำหรับการกู้เงินระยะสั้นในรูปเงินตราต่างประเทศไว้ที่ B
ปัญหาการคอรัปชั่น โครงสร้างพื้นฐานที่ไม่เพียงพอ มูลค่า GDP
ต่อหัวที่ต่ำเพียง 2,300
ดอลลาร์สหรัฐฯและหนี้ต่างประเทศที่สูงเป็นปัจจัยสำคัญที่เหนี่ยวรั้งการเติบ
โตทางเศรษฐกิจของอินโดนีเซีย
ที่มา Financial Times
http://www.ft.com/cms/s/0/4f174b9a-2dc8-11df-a971-00144feabdc0.html
บทความนี้ถูกอ่านไปแล้ว 1869 ครั้ง